วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร เป็นวัดใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในเชียงใหม่ปัจจุบันยอดเจดีย์ได้หักพังลงมาเมื่อคราวเกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ในปี พ.ศ. ๒๐๘๘ วัดเจดีย์หลวงจึงเป็นโบราณสถานอันเก่าแก่อีกแห่งหนึ่งที่น่าท่องเที่ยว
ที่ตั้ง
ตั้งอยู่บนถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
ที่ตั้ง
ตั้งอยู่บนถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
ประวัติ
สร้างในสมัย"พญาแสนเมืองมา" เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ลำดับที่ ๗ แห่งราชวงศ์มังราย พ.ศ.๑๙๓๑ - ๑๙๕๔ เพื่ออุทิศส่วนกุศลถวายแด่"พญากือนา" พระราชบิดา แต่ยังสร้างไม้เสร็จ
ก็สิ้นพระชนม์เสียก่อน ต่อมาพระมเหสีได้ควบคุมการก่อสร้างต่อจนแล้วเสร็จในสมัย "พญาสามฝั่งแกน"
เรียกว่า"กู่หลวง" แรกสร้างเป็นเจดีย์เล็ก ๆ ทรงสี่เหลี่ยมฐานกว้างด้านละ ๑๔ เมตร สูง๒๔ เมตร
ต่อมาสมัย"พระเจ้าติโลกราช" รัชกาลที่ ๙ แห่งราชวงศ์มังราย พ.ศ.๑๙๘๕ - ๒๐๓๐ โปรดให้
"หมื่นด้ามพร้าคต" เป็นนายช่างใหญ่สร้างเสริมเจดีย์ใหม่ เริ่มสร้างตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๐๒๐ แล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ. ๒๐๒๕ โดยขยายฐานให้กว้างออกถึง ๕๖ เมตร สูง ๙๕ เมตร สามารถมองเห็นได้แต่ไกล
แล้วอัญเชิญพระแก้วมรกตมาประดิษฐานที่มุขด้านตะวันออกของเจดีย์เป็นเวลานานถึง ๘๐ ปี ตั้งแต่พ.ศ. ๒๐๑๐ - ๒๐๙๑ ต่อมารสมัย"พระมหาเทวีจิระประภา" รัชกาลที่ ๑๕ แห่งราชวงศ์มังราย พ.ศ. ๒๐๘๘ - ๒๐๘๙
ในปีพ.ศ. ๒๐๘๘ ต่อมามีฝนตกหนัก และเกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ เป็นสาเหหตุให้ส่วนยอดของเจดีย์หักพังเหลือเพียงครึ่งองค์ เกิดรอยร้าวที่องค์พระเจดีย์สุดที่จะแก้ไขได้ จึงถูกทิ้งร้างมานานถึง ๔๔๕ ต่อมาปี พ.ศ. ๒๕๓๓ กรมศิลปกรได้ทำการบูรณะจนเป็นดังที่เห็นเช่นปัจจุบันนี้
เสาอินทขิล หรือเสาหลักเมือง
ตั้งอยู่กลางวิหารจตุรมุขศิลปะแบบล้านนาประยุกต์ เป็นเสาอิฐก่อปูนตัดกระจกสี รอบเสาวัดได้ ๕.๖๗ เมตร สูง ๑.๓๐ เมตร แท่นพระบนเสาอินทขิลสูง ๙๗ เซนติเมตร รอบแท่นวัดได้ ๒.๔ เมตร บนเสาอินทขิลมีพะรพุทธรูปทองสำริดปางรำพึง ประดิษฐานอยู่ภายในบุษบก พลตรี เจ้าราชบุตร (วงศ์ตะวัน ณ เชียงใหม่) นำมาถวายวัดเจดีย์หลวงเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๔ เพื่อให้ชาวเมืองได้สักการะคู่กัน
ตำนานเสาอินทขิล การสร้างเสาอินทขิลเริ่มจากชาวลัวะซึ่งเป็นชนพื้นเมืองในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำปิง เชิงดอยสุเทพ ได้ก่อตั้งชุมชนระดับเวียงหลายแห่งในบริเวณนี้ เช่นเวียงเชษฐบุรี เวียงสวนดอก เวียงนพบุรี เมื่อตั้งเวียงนพบุรีได้ตั้งเสาอินทขิลขึ้นเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวเมือง พร้อมกับมอบกุมภัณฑ์สองตนทำหน้าที่รักษาเวียงให้มั่นคง ตามคำแนะนำของฤาษี ชาวเมืองต้องทำพิธีบูชาเสาอินทขิลและเลี้ยงกุมภัณฑ์ หากปล่อยปละละเลยไม่บูชาบ้านเมืองจะวินาศ
ส่วนเสาอินทขิลที่ประดิษฐานอยู่ที่วัดเจดีย์หลวงนั้น มีบันทึกไว้ว่าพญามังรายมหาราช ปฐมกษัตริย์ทรงสร้างเสาอินทขิล เมื่อครั้งสถาปนา "นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่" ขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๑๘๓๙ เดิมอยู่ที่วัดสะดือเมืองหรือวัดอินทขิล กลางเวียงเชียงใหม่ (ปัจจุบันคือหอประติโลกราช ข้างศาลากลางหลังเก่า) ครั้ง"พระเจ้ากาวิละ"ครองเมืองเชียงใหม่ ได้ย้ายมาประดิษฐานที่วัดเจดีย์หลวง โดยบูรณะขึ้นใหม่เป็นเสาปูน พร้อมกับทำการบวงสรวงเป็นพระเพณีสืบทอดกันมาจนถึงปัจจุบัน
เครื่องสังเวยพลีกรรม หรือเครื่องบูชาเสาอินทขิล
ได้แก่ ขันตั้ง ๑๒ ขัน ขันประธาน ๑ ขัน ขันบริวาร ๑๑ ขัน
คำบูชาเสาอินทขิล
"อินทะขีลัง สิทธิชัยยะ อินทะขีลัง สิทธิชัยยะอินทะขีลัง มังคะลัตถิ อินทะขีลัง โสตถิมังคะลัง"
สร้างในสมัย"พญาแสนเมืองมา" เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ลำดับที่ ๗ แห่งราชวงศ์มังราย พ.ศ.๑๙๓๑ - ๑๙๕๔ เพื่ออุทิศส่วนกุศลถวายแด่"พญากือนา" พระราชบิดา แต่ยังสร้างไม้เสร็จ
ก็สิ้นพระชนม์เสียก่อน ต่อมาพระมเหสีได้ควบคุมการก่อสร้างต่อจนแล้วเสร็จในสมัย "พญาสามฝั่งแกน"
เรียกว่า"กู่หลวง" แรกสร้างเป็นเจดีย์เล็ก ๆ ทรงสี่เหลี่ยมฐานกว้างด้านละ ๑๔ เมตร สูง๒๔ เมตร
ต่อมาสมัย"พระเจ้าติโลกราช" รัชกาลที่ ๙ แห่งราชวงศ์มังราย พ.ศ.๑๙๘๕ - ๒๐๓๐ โปรดให้
"หมื่นด้ามพร้าคต" เป็นนายช่างใหญ่สร้างเสริมเจดีย์ใหม่ เริ่มสร้างตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๐๒๐ แล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ. ๒๐๒๕ โดยขยายฐานให้กว้างออกถึง ๕๖ เมตร สูง ๙๕ เมตร สามารถมองเห็นได้แต่ไกล
แล้วอัญเชิญพระแก้วมรกตมาประดิษฐานที่มุขด้านตะวันออกของเจดีย์เป็นเวลานานถึง ๘๐ ปี ตั้งแต่พ.ศ. ๒๐๑๐ - ๒๐๙๑ ต่อมารสมัย"พระมหาเทวีจิระประภา" รัชกาลที่ ๑๕ แห่งราชวงศ์มังราย พ.ศ. ๒๐๘๘ - ๒๐๘๙
ในปีพ.ศ. ๒๐๘๘ ต่อมามีฝนตกหนัก และเกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ เป็นสาเหหตุให้ส่วนยอดของเจดีย์หักพังเหลือเพียงครึ่งองค์ เกิดรอยร้าวที่องค์พระเจดีย์สุดที่จะแก้ไขได้ จึงถูกทิ้งร้างมานานถึง ๔๔๕ ต่อมาปี พ.ศ. ๒๕๓๓ กรมศิลปกรได้ทำการบูรณะจนเป็นดังที่เห็นเช่นปัจจุบันนี้
เสาอินทขิล หรือเสาหลักเมือง
ตั้งอยู่กลางวิหารจตุรมุขศิลปะแบบล้านนาประยุกต์ เป็นเสาอิฐก่อปูนตัดกระจกสี รอบเสาวัดได้ ๕.๖๗ เมตร สูง ๑.๓๐ เมตร แท่นพระบนเสาอินทขิลสูง ๙๗ เซนติเมตร รอบแท่นวัดได้ ๒.๔ เมตร บนเสาอินทขิลมีพะรพุทธรูปทองสำริดปางรำพึง ประดิษฐานอยู่ภายในบุษบก พลตรี เจ้าราชบุตร (วงศ์ตะวัน ณ เชียงใหม่) นำมาถวายวัดเจดีย์หลวงเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๔ เพื่อให้ชาวเมืองได้สักการะคู่กัน
ตำนานเสาอินทขิล การสร้างเสาอินทขิลเริ่มจากชาวลัวะซึ่งเป็นชนพื้นเมืองในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำปิง เชิงดอยสุเทพ ได้ก่อตั้งชุมชนระดับเวียงหลายแห่งในบริเวณนี้ เช่นเวียงเชษฐบุรี เวียงสวนดอก เวียงนพบุรี เมื่อตั้งเวียงนพบุรีได้ตั้งเสาอินทขิลขึ้นเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวเมือง พร้อมกับมอบกุมภัณฑ์สองตนทำหน้าที่รักษาเวียงให้มั่นคง ตามคำแนะนำของฤาษี ชาวเมืองต้องทำพิธีบูชาเสาอินทขิลและเลี้ยงกุมภัณฑ์ หากปล่อยปละละเลยไม่บูชาบ้านเมืองจะวินาศ
ส่วนเสาอินทขิลที่ประดิษฐานอยู่ที่วัดเจดีย์หลวงนั้น มีบันทึกไว้ว่าพญามังรายมหาราช ปฐมกษัตริย์ทรงสร้างเสาอินทขิล เมื่อครั้งสถาปนา "นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่" ขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๑๘๓๙ เดิมอยู่ที่วัดสะดือเมืองหรือวัดอินทขิล กลางเวียงเชียงใหม่ (ปัจจุบันคือหอประติโลกราช ข้างศาลากลางหลังเก่า) ครั้ง"พระเจ้ากาวิละ"ครองเมืองเชียงใหม่ ได้ย้ายมาประดิษฐานที่วัดเจดีย์หลวง โดยบูรณะขึ้นใหม่เป็นเสาปูน พร้อมกับทำการบวงสรวงเป็นพระเพณีสืบทอดกันมาจนถึงปัจจุบัน
เครื่องสังเวยพลีกรรม หรือเครื่องบูชาเสาอินทขิล
ได้แก่ ขันตั้ง ๑๒ ขัน ขันประธาน ๑ ขัน ขันบริวาร ๑๑ ขัน
คำบูชาเสาอินทขิล
"อินทะขีลัง สิทธิชัยยะ อินทะขีลัง สิทธิชัยยะอินทะขีลัง มังคะลัตถิ อินทะขีลัง โสตถิมังคะลัง"
Wat Chedi Luang The temple is one of the largest in the pagodas present time has broken down on occasion earthquake in the year 2088, Wat Chedi Luang is one of the oldest historical sites to tourism.
location
Located on King Prajadhipok Phra Singh, Chiang Mai.
History
Building in the "Chiang Saen town," the ruler of the Chiang dynasty 7th consecutive year from 1931 to 1954 to dedicate merit presented to "Phaya Kue Na," My father, however, was never finished.
Died before Later, his wife has completed the construction of the latter. "Cometh the third axis"
Called the "Ku Royal" first build a small pagoda rectangular base width of 14 meters and 24 meters high.
Later, the "God's kingdom" of the dynasty King Rama 9 year 1985-2030 please.
"Ten thousand Damprakot" as chief engineer build a new tower. Since 2020 the building was completed in the year 2025 by expanding to 95 meters wide and 56 meters high, is visible from afar.
I took the Emerald Buddha was enshrined on the porch on the east side of the tower as long as 80 years. Since. 2010-2091 with the Devil, "the Mhaetwi JIRA Sub" reign of the 15th dynasty, BE 2088 -. 2089
In the year.. 2088 following heavy rain. And earthquake The reason is the main cause to the top of the pagoda ruins halved. Cracking of the pagoda is yet to be resolved. It has been abandoned for more than 445 years later, 2533, the Department of Fine Arts has been restored and is seen as such today.
Column Inthakin or pillar.
The cruciform temple in the center of Lanna art. A pillar of brick masonry cutting glass around the pole, measuring 5.67 meters high and 1.30 meters on the pole altars Inthakin 97 cm high altar, measuring 2.4 meters on the pole Inthakin a Division of Buddha. Thar's gold bronze Buddha enshrined in the Air Force, you son (Wong west of London) measure brought to the temple in the year 2514 to the city to worship together.
Legend pole Inthakin The creation of the post Inthakin from Lua, which is native to the plains of the Ping River, Chiang Mai, Doi Suthep has founded several communities in this area. Such as Chet Resort Chiang Mai Doi Suthep Chiang Mai Nopburi when Nopburi pillars Inthakin as the spiritual center of the city. Along with the two giant walled maintain their integrity. On the advice of a hermit The city must do the ritual pole Inthakin and friendly ogre. The abandoned house of worship, not to be annihilated.
The pole Inthakin enshrined at Wat Chedi Luang for it. Meng is on record that the Great. Kings had built a pole Inthakin. Once established "Dr. Chiang Mai Srincr" originally formed in 1839 at a Buddhist temple or monastery Inthakin navel. Mai Chan (Now Hall of the royal sculptor. The Old Town Hall), the "King Kawila" dominate the city. Moved to be enshrined at Wat Chedi Luang. The newly restored as cement. Ready to make a sacrifice to the traditionally handed down to the present.
Sacrificial sacrifice Or ground poles Inthakin.
Khan is one of the 12 Coo Coo coo coo coo host 11.
The sacred pole Inthakin.
"In words written in her crate pan Callahan Callahan is written here.
Manga is written in words that are written word in Lat est Prote likely it is. "
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น